info.eqsco@gmail.com
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ในการเก็บข้อมูลการใช้งาน เพื่อให้คุณได้รับประสบการณ์ที่ดี หากคุณใช้งานเว็บไซต์ต่อ เราถือว่าคุณยอมรับการใช้งานคุกกี้ และนโยบายความเป็นส่วนตัว แต่ถ้าคุณไม่ต้องการให้ใช้คุกกี้ในการเก็บข้อมูล กรุณาคลิก รายละเอียดเพิ่มเติม
เมื่อท่านได้เข้าสู่เว็บไซต์ของเรา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่เว็ปไซต์ของท่าน จะถูกเก็บเอาไว้ในรูปแบบของคุกกี้ โดยนโยบายคุกกี้นี้จะอธิบายถึงความหมาย การทำงาน วัตถุประสงค์รวมถึงการลบ และการปฏิเสธการเก็บคุกกี้ เพื่อความเป็นส่วนตัวของท่านโดยการเข้าสู่เว็บไซต์นี้ ถือว่าท่านได้อนุญาตให้เราใช้คุกกี้ตามนโยบายคุกกี้ ที่มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
คุกกี้ คือ ไฟล์เล็กๆเพื่อจัดเก็บข้อมูล โดยจะบันทึกลงไปในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ/หรือ เครื่องมือสื่อสารที่เข้าใช้งานของท่าน เช่น แท็บเล็ต, สมาร์ทโฟนผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ ในขณะที่ท่านเข้าสู่เว็บไซต์ของเรา โดยคุกกี้จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ/หรือ เครื่องมือสื่อสารของท่านในกรณีดังต่อไปนี้ ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านอาจถูกจัดเก็บ เพื่อใช้เพิ่มประสบการณ์การใช้งานบริการของเราทางออนไลน์ โดยจะจำเอกลักษณ์ของภาษา และปรับแต่งข้อมูลการใช้งานตามความต้องการของท่าน โดยการเก็บข้อมูลนี้ เพื่อเป็นการยืนยันคุณลักษณะเฉพาะตัว ข้อมูลความปลอดภัยของท่านรวมถึงสินค้า และบริการที่ท่านสนใจนอกจากนี้ คุกกี้ยังถูกใช้เพื่อวัดปริมาณการเข้าใช้งานบริการทางออนไลน์ การปรับเปลี่ยนเนื้อหาตามการใช้งานของท่านทั้งในก่อนหน้า และปัจจุบันหรือเพื่อวัตถุประสงค์ในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสบการณ์ และความพึงพอใจของท่าน โดยจะทำให้เราเข้าใจลักษณะการใช้งานเว็บไซต์ของท่านได้เร็ว และทำให้เว็บไซต์ของเราเข้าถึงได้ง่ายสะดวกยิ่งขึ้น บางกรณีเราจำเป็นต้องให้บุคคลที่สามดำเนินการ ซึ่งอาจจะต้องใช้อินเตอร์เน็ตโปรโตคอลแอดเดรส (IP Address) และคุกกี้เพื่อวิเคราะห์ทางสถิติ ตลอดจนเชื่อมโยงข้อมูล และประมวลผลตามวัตถุประสงค์ทางการตลาด
ประเภทของคุกกี้ | รายละเอียด | ตัวอย่าง |
---|---|---|
คุกกี้ประเภทจำเป็นถาวร | คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ประสบการณ์การใช้เว็บไซต์ของท่านเป็นไปอย่างต่อเนื่องเช่น การจดจำการเข้าสู่ระบบ, การจดจำข้อมูลที่ท่านให้ไว้บนเว็บไซต์ |
|
คุกกี้ประเภทการวิเคราะห์ และวัดผลการทำงาน | คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้เราสามารถวัดผลการทำงาน เช่นการประมวลจำนวนหน้าที่ท่านเข้าใช้งานจำนวนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้งานนั้นๆ โดยข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้งาน |
|
คุกกี้เพื่อการโฆษณา | คุกกี้ประเภทนี้จะถูกบันทึกบนอุปกรณ์ของท่าน เพื่อเก็บข้อมูลการเข้าใช้งาน และลิงก์ที่ท่านได้เยี่ยมชม และติดตามนอกจากนี้คุกกี้จากบุคคลที่สาม อาจใช้ข้อมูลที่มีการส่งต่อข่าวสารในสื่อออนไลน์ และเนื้อหาที่จัดเก็บจากการให้บริการเพื่อเข้าใจความต้องการของผู้ใช้งาน โดยมีวัตถุประสงค์ในการปรับแต่งเว็บไซต์แคมเปญโฆษณา ให้เหมาะสมกับความสนใจของท่าน |
|
คุกกี้ประเภทการทำงาน | คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยอำนวยความสะดวก เมื่อท่านกลับเข้ามาใช้งานเว็บไซต์อีกครั้ง โดยเราจะใช้ข้อมูลเพื่อปรับแต่งเว็บไซต์ตามลักษณะการใช้งานของท่าน |
|
ท่านสามารถลบ และปฏิเสธการเก็บคุกกี้ได้ โดยศึกษาตามวิธีการที่ระบุในแต่ละเว็บเบราว์เซอร์ที่ท่านใช้งานอยู่ตามลิงก์ดังนี้ (ข้อมูล ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2561)
นโยบายคุกกี้นี้อาจมีการปรับปรุงแก้ไขตามโอกาส เพื่อให้เป็นไปตามกฎระเบียบ ดังนั้นเราขอแนะนำให้ท่านตรวจสอบให้แน่ใจว่า ท่านได้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงตามข้อกำหนดดังกล่าว
การตรวจประเมินพลังงานมี 2 แนวทางคือ
1. การตรวจประเมินแบบทั่วไป (Visual Energy Audit)
ใช้การพิจารณาสังเกตสภาพการทำงานโดยใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือวัดที่ติดตั้งอยู่แล้วในกระบวนการ หรืออาจมีการใช้เครื่องมือเพิ่มเติม แต่เป็นการตรวจวัดแบบง่าย เพื่อนำมากำหนดแนวทาง และความสำคัญของมาตรการ
2. การตรวจประเมินแบบละเอียด (Detailing Energy Audit)
ใช้เครื่องมือตรวจวัดเพิ่มเติม และอาจต้องใช้ระยะเวลาในการตรวจนานกว่าแบบทั่วไป เพื่อให้ได้ค่าตัวแปรที่ปริมาณเพียงพอต่อการคำนวณตามแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (Simulation) ให้การกำหนดมาตรการ ผลประหยัด และความคุ้มค่าในการลงทุนที่ถูกต้องที่สุด ซึ่งในการตรวจวัดเครื่องจักรเพื่อให้ได้ค่าที่นำมาวิเคราะห์นั้นจะกระทำใน 2 ลักษระคือ การตรวจวัดแบบชั่วขณะ และการตรวจวัดแบบต่อเนื่อง ทั่งนี้ขึ้นอยู่กับความซีบซ้อนของเครื่องจักร กระบวนการ ปริมาณการผลิต หรือรูปแบบการใช้พลังงานเป็นต้น
ขั้นตอนการดำเนินงานการตรวจประเมินแบบละเอียด
1. ศึกษารวบรวมข้อมูลเบื้องต้น เช่น บันทึกปริมาณการผลิต ใบเสร็จค่าไฟ ใบเสร็จค่าเชื้องเพลิง รายละเอียดของเครื่องจักรที่ใช้พลังงาน
2. จำแนกเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ใช้พลังงานตามประเภทของพลังงานที่ใช้
3. ศึกษาการใช้พลังงานของเครื่องจักรตามจุดต่างๆในกระบวนการผลิต
4. กำหนดแผนการตรวจวัด กระบวนการผลิตที่ต้องการตรวจวัด ตัวแปรที่จำเป็นในการตรวจวัด เพื่อใช้วิเคราห์ช่วงเวลาการตรวจวัด เป็นต้น
5. จัดเตรียมเครื่องมือวัดที่จำเป็น
6. ดำเนินการตรวจวัดจริง และเก็บข้อมูลประกอบอื่นๆ เช่น บันทึกการเดินเครื่องจักร (Log Sheet) บันทึกกการใช้พลังงานจากมิเตอร์ต่างๆ
ทำไมต้องมีระบบการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคารควบคุม
หลายท่านคงมีข้อสงสัยเหตุใดจึงต้องมีกฎหมายระบบการจัดการพลังงาน มีเหตุผลหลายประการ ล้วนแล้วเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศในแต่ละด้าน ประการแรก ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังการผลิตไฟฟ้าในประเทศรวมประมาณ 32,000 MW แต่มีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดถึง 28,000 MW คิดเป็นประมาณ 80% ของกำลังผลิตที่ผลิตได้ สภาพแบบนี้มีความเสี่ยงที่ความต้องการอาจสูงกว่ากำลังที่ผลิต ซึ่งผลกระทบที่ตามมาคือ ไฟฟ้าไม่พอหรือเราจะเคยพบมาแล้วเรียกว่า เกิดไฟตก ประการที่สอง การผลิตไฟฟ้าในประเทศเราต้องใช้เชื้อเพลิงซึ่งต้องนำเข้ามาจากต่างประเทศมากกว่า 80% จึงทำให้ประเทศชาติต้องเสียดุลการค้าในการซื้อเชื้อเพลิงจากต่างประเทศปีหนึ่งหลายล้านบาท ประการที่สาม ถ้าเปรียบเทียบปริมาณความเข้มของการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ประเทศไทยมีอัตราการใช้พลังงานสูงต่อการขยายความเติบโตทางธุรกิจ อยู่ในอันดับต้นๆ นั้นหมายความว่าศักยภาพในการทำธุรกิจเพื่อแข่งขันกับประเทศต่างๆของเราก็จะต่ำลง ซึ่งอาจมาจากต้นทุนด้านพลังงานที่สูงนั้นเอง ประการสุดท้าย (ณ ที่นี้) คือประชาคมโลกได้มีการจัดทำสัญญาความร่วมมือการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อลดปัญหาโลกร้อน ซึ่งมีผลต่อการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ดังนั้นประเทศต่างๆจึงต้องมีมาตรการในการดำเนินการเพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้จากเหตุผลหลายด้านดังกล่าว ประเทศไทยจึงต้องมีการกำหนดและจัดทำแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า (PDP) เพื่อความมั่นคงของระบบไฟฟ้าคลอบคลุมทั้งระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้า และระบบจำหน่ายไฟฟ้ารายพื้นที่ เพื่อให้ต้นทุนค่าไฟฟ้าอยู่ในระดับที่เหมาะสมสะท้อนต้นทุนที่แท้จริงของประชาชนไม่แบกรับภาระมากเกินไป และภาคธุรกิจเช่นเดียวกัน รวมถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมลดการปลดปล่อย CO2 ให้สอดคล้องกับแนวทางประชาคมโลกที่กำหนดไว้
ดังนั้นเพื่อให้แผนการผลิตไฟฟ้าตามแผน PDP บรรลุผล หนึ่งในมาตรการที่ต้องดำเนินการคือ ภาคธุรกิจต้องมีระบบการจัดการพลังงาน เพื่อให้องค์กรมีการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพและลดการใช้พลังงานเพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายใหญ่ของประเทศ จึงจำเป็นต้องออกเป็นกฎหมายตาม พรบ.การส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535
- บริการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานตาม พรบ.การส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550)
- ตรวจวัดและจัดทำรายงานสมดุลพลังงานเพื่อประเมินประสิทธิภาพการใช้พลังงานของเครื่องจักร
- ประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน และกำหนดแนวทางมาตรการอนุรักษ์พลังงานหรือการใช้พลังงานทดแทน
- ตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดตามมาตรฐาน M&V